การสำรวจดิน🥇 คือ วิธีการเจาะดิน✅, การเก็บตัวอย่างดิน⚡, ทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม🛒, หยั่งชั้นดินจากผิวดิน🦖 หรือใช้เทคนิคอื่น ๆ✨ เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลชั้นดินทั้งแนวดิ่งและแนวราบ🛒 เพียงพอในการที่จะออกแบบ หรือศึกษาทางด้านปฐพีกลศาสตร์✅ การสำรวจดินต้องคำนึงถึงประโยชน์ใช้งาน🌏 เช่น ถนนหรือสนามบิน🦖 การเจาะสำรวจจะทำเพียงตื้น ๆ✅ แต่งานฐานรากต้องสำรวจลึกกว่าปลายเข็มที่ใช้งาน⚡ การสำรวจดินมีหลายประเภท✅
🎯🎯🎯การเจาะสำรวจดินมีหลายประเภท📢📢📢📢
🌏🌏🌏1. การสำรวจธรณีฟิสิกส์พื้นผิว🌏 ได้แก่การสำรวจโดยไม่ต้องทำการเจาะสำรวจ🦖 แต่ใช้เครื่องมือทดสอบบนพื้นผิวโดยใช้หลักการฟิสิกส์📌 วิธีดังกล่าวเป็นวิธีที่มีความถูกต้องน้อยกว่าการเจาะสำรวจ📌 ตัวอย่างการสำรวจประเภทนี้ ได้แก่🌏 การทดสอบความต้านทานไฟฟ้า🎯 การทดสอบ Seismic Reflection🦖 และการทดสอบเรดาร์ทะลุพื้นดิน (GPR)⚡ เป็นต้น
📢📢📢2. การทดสอบคุณสมบัติดินในสนาม🥇 คือ การทดสอบดิน (https://groups.google.com/g/comp.lang.clipper.visual-objects/c/50Szym-PfJg)ในสถานที่จริง👉 โดยไม่ได้เก็บตัวอย่างดินมาทดสอบในห้องปฏิบัติการ🦖 แต่ใช้เครื่องมือหยั่งพื้นดินเพื่อตรวจสอบคุณสมบัติดินในความลึกต่าง ๆ🛒 ข้อดีของการทดสอบโดยวิธีนี้คือ ดินที่ถูกทดสอบอยู่ในสภาวะที่เป็นสภาวะจริง⚡ แต่ข้อเสียคือเครื่องมือที่ใช้วัดค่าส่วนใหญ่มีความละเอียดไม่เท่าเครื่องมือในห้องปฏิบัติการทำให้ได้ผลที่มีข้อจำกัดด้านความละเอียดของค่าตัวแปร🥇 ตัวอย่างการสำรวจประเภทนี้ ได้แก่✨ การทดสอบ Vane Shear✨ การทดสอบ Cone Penetration📌 และการทดสอบ Standard Penetration👉 เป็นต้น
🥇🥇🥇3. การเจาะดิน✨ การเจาะสำรวจมักทำร่วมกับการเก็บตัวอย่างดินและการทดสอบคุณสมบัติในสนาม🌏 ตัวอย่างวิธีการเจาะสำรวจดินมีดังนี้🎯
3.1 การเจาะโดยใช้สว่านมือ (Hand Auger)📢 เป็นการเจาะด้วยแรงงานคน📌 โดยใช้สว่านมือและก้านเจาะ🥇 ใช้กับดินลักษณะต่าง ๆ กัน🌏 โดยที่ก้านเจาะซึ่งยาวประมาณ 1 เมตร🥇 สามารถต่อเพิ่มความยาวได้หลายท่อน🌏 เมื่อกดพร้อม ๆ กับหมุนมือถือจนดินเข้ามาเต็มสว่านแล้วต้องดึงขึ้นมาเพื่อนำดินออก🎯 ดินส่วนนี้สามารถใช้จำแนกทางวิศวกรรมได้🥇 การเจาะด้วยสว่านมืออาจทำได้ลึกถึง 6-10 เมตร🥇 ในดินเหนียวแข็งปานกลางที่มีระดับน้ำใต้ดินไม่สูง📢
3.2 การฉีดล้างดิน (Wash Boring)📌
เป็นการเจาะดินด้วยการสูบน้ำผ่านก้านเจาะไปยังหัวฉีดที่ก้นหลุมพร้อมกับการกระแทกหรือหมุนหัวเจาะ📌 ทำให้ดินก้นหลุมถูกน้ำพาไหลขึ้นมาบนผิวดินจนเกิดหลุม📢 น้ำที่พาดินขึ้นมาจะไหลลงอ่างตกตะกอนและสูบน้ำที่ใสนำกลับมาใช้ใหม่ในลักษณะการหมุนเวียน🌏 วิธีนี้ต้องอาศัยสามขา (Tripod)🛒 เครื่องกว้าน (Motor และ Catch head)✅ และปั๊มน้ำ🛒 ในกรณีที่เจาะในชั้นของดินอ่อนหรือทราย⚡ จะต้องใช้ปลอกกันดินพัง (Casing)📢ด้วย โดยต่อเป็นท่อน ๆ การเจาะแบบนี้เป็นที่นิยมในประเทศ🎯 เนื่องจากสามารถเจาะดินได้ลึกและสามารถใช้เจาะไปถึงตำแหน่งที่ต้องการเพื่อเก็บตัวอย่างดินหรือทดสอบในสนามได้✅ การเจาะแบบนี้สามารถเจาะได้ลึกกว่า 60 เมตรในดินกรุงเทพฯ🥇
เข้าใจแล้วครับ
สุดยอดมากครับ